วันศุกร์ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2552

data mining

DATA MINING คืออะไร
Data Mining คือ ชุด software วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ถูกออกแบบมาเพื่อระบบสนับสนุนการตัดสินใจของผู้ใช้ มันเป็น software ที่สมบรูณ์ทั้งเรื่องการค้นหา การทำรายงาน และโปรแกรมในการจัดการ ซึ่งเราคุ้นเคยดีกับคำว่า Executive Information System ( EIS ) หรือระบบข้อมูลสำหรับการตัดสินใจในการบริหาร ซึ่งเป็นเครื่องมือชิ้นใหม่ที่สามารถค้นหาข้อมูลในฐานข้อมูลขนาดใหญ่หรือข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการบริหาร ซึ่งเป็นการเพิ่มคุณค่าให้กับฐานข้อมูลที่มีอยู่

ทำไมต้องมี DATA MINING
1.เพื่อนำข้อมูลที่ถูกเก็บไว้ไปสกัดสารสนเทศไปใช้
2.ในอดีตเราใช้คนเป็นผู้สืบค้นข้อมูลต่างๆในฐานข้อมูลซึ่งผู้สืบค้นจะทำการสร้างเงื่อนไขตามภูมิปัญญาของผู้สืบค้น
3.ในปัจจุบันการวิเคราะห์ข้อมูลจากฐานข้อมูลเดียวอาจไม่ให้ความรู้เพียงพอและลึกซึ้งสำหรับการดำเนินงาน จึงจำเป็นที่จะต้องรวบรวมฐานข้อมูลหลายๆฐานข้อมูลเข้าด้วยกัน เรียกว่า "คลังข้อมูล"
ประเภทข้อมูลที่สามารถทำ DATA MINING
-Relationnal Database เป็นฐานข้อมูลที่เก็บอยู่ในรูปของตาราง
-Data Warehouses เป็นการเก็บข้อมูลหลายแหล่งมารวมกันที่เดียวกัน
-Transaction Database ประกอบ้วยข้อมูลที่แต่ละทรานแซกชันแทนด้วยเหตุการณ์ในขณะขณะหนึ่ง
-Advaanced Database เป็นฐานข้อมูลที่เก็บไว้ในรูปแบบอื่นๆ เช่น ข้อมูลมัลติมีเดีย

Data ware house

Data Warehouse คืออะไร
Data Warehouse(คลังข้อมูล) คือ ฐานข้อมูลขนาดยักษ์ ที่รวบรวมฐานข้อมูลจากหลายแหล่งหลายช่วงเวลา
คลังข้อมูลแตกต่างจากฐานข้อมูลอย่างไร
โดยปกติแล้ว ฐานข้อมูลในองค์กรทั่วไปจะมีลักษณะที่ค่อนข้างทันต่อเหตุการณ์ เช่น ฐานข้อมูลพนักงานก็จะเก็บ
เฉพาะพนักงานในปัจจุบัน จะไม่สนใจข้อมูลพนักงานเก่า ๆ ในอดีต ซึ่งอาจจะมีข้อมูลอะไรบางอย่าง ที่มีประโยชน์สำหรับ
ผู้บริหาร ในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและคุณลักษณะต่าง ๆ ขององค์กร นอกจากนี้ ฐานข้อมูลแต่ละอันมักถูกออกแบบมา
ใช้เก็บข้อมูลเฉพาะด้าน จึงมีข้อมูลเฉพาะบางส่วนขององค์กรเท่านั้น ฉะนั้นคลังข้อมูลจึงถูกออกแบบมา เพื่อรวบรวมข้อมูล
ในทุกส่วนของทั้งบริษัท ทั้งเก่าและใหม่ไว้ด้วยกัน ไม่มีการลบทิ้งข้อมูลเก่าๆ ที่ไม่จริงในปัจจุบัน
โดยสรุปคือ
• คลังข้อมูล ใช้เพื่อการวิเคราะห์ (ข้อมูลทั้งอดีตและปัจจุบัน)
• ฐานข้อมูล ใช้เพื่อทำการประมวลผล (เฉพาะข้อมูลปัจจุบัน)
ถ้าองค์กรมีคลังข้อมูลหลาย ๆ อันเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ต่าง ๆ แตกต่างกันไป เช่น คลังข้อมูลด้านการเงิน และ
คลังข้อมูลด้านทรัพยากรมนุษย์ เรามักเรียกคลังข้อมูลเฉพาะด้านเหล่านี้ว่า ตลาดข้อมูล (Data Marts)
อนึ่ง กระบวนการในการใช้ข้อมูลในคลังข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ และวางแผนในทางธุรกิจ มักถูกเรียกว่า ปัญญา
ธุรกิจ (Business Intelligence)
การวิเคราะห์ข้อมูลในคลังข้อมูล มีสองประเภทใหญ่ ๆ คือ
Online Analytical Processing
Online Analytical Processing (OLAP) คือ การใช้คำค้น (Query) เพื่อค้นหาข้อมูลในคลังข้อมูลเหมือนใน
ฐานข้อมูล เหตุผลที่เราไม่ค้นในฐานข้อมูล แต่มาทำในคลังข้อมูลแทนมีสองสาเหตุ คือ
• ความเร็ว
• ความครอบคลุมของข้อมูลทั้งบริษัทที่มีอยู่ในคลังข้อมูล

กระบวนการเรียนรู้ blogger

blogger ทำหน้าที่เป็นเหมือนสมุดบันทึกส่วนดัวหรือเอกสารแนะนำตัว
blogger สามารถที่จะติดต่อสื่อสารไปถึงแหล่งต่างได้ ใครอยากเขียนอะไรระบายอะไรลงไปก็ได้ หรืออยากแบ่งปันอะไรให้คนอื่นได้รับทราบก็เขียนได้ บันทึกกันลืมคน แปะรูปสวยๆที่ไปเที่ยวมา แปะรูปแปลงดอกไม้หน้าบ้านก็สามารทำได้

วันพฤหัสบดีที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2552

แนะนำตัว


ชื่อ นางสาวทัศฉวี นามสกุล วรรณทวี

ชื่อเล่น จุ๊

อายุ 24 ปี

ที่อยู่ 113 หมู่ 2 บ้านโพนเขวา ตำบลโพนเขวา

อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ 33000

โทรศัพท์ 081-5933324

การศึกษา กำลังศึกษาอยู่ที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

คณะรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการคลัง

สถานที่ทำงาน


สถานที่ทำงาน องค์การบริหารส่วนตำบลโพนเขวา

ที่ตั้ง หมู่ที่ 2 ตำบลโพนเขวา อำเภอเมืองศรีสะเกษ

จังหวัดศรีสะเกษ 33000

โทรศัพท์ 045-911544 ต่อ 11

โทรสาร 045-911544 ต่อ 13


http://www.phonkoaw.org/

โครงสร้างขององค์กร แบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย ได้แก่

1. ฝ่ายการเมือง

2. ฝ่ายประจำ

ฝ่ายการเมือง ประกอบด้วย

- นายพัด โพธิ์ขาว ตำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนตำบล

- นายชาญณรงค์ วรรณทวี ตำแหน่ง รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบล

- นายบุญธรรม แอนโก ตำแหน่ง รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบล

- นางสาววิรัชนีย์ เมืองชัย ตำแหน่ง เลขานุการนายก อบต.

- นายบุตรดี ชัยวิเศษณ์ ตำแหน่ง ประธานสภา อบต.

- นายอัมพร เพี่ยบุญมาก ตำแหน่ง รองประธานสภา อบต.

- นายอุดร ธรรมวงศ์ ตำแหน่ง เลขานุการสภา อบต.

- นายสหชาติ โพธิ์ขาว สมาชิก อบต. หมู่ 1

- นายอัศวิน วรรรทวี สมาชิก อบต. หมู่ 1

- นายวิเชียร โพธิ์ขาว สมาชิก อบต. หมู่ 2

- นายศรีจันทร์ วรรณทวี สมาชิก อบต. หมู่ 2

- นายเกียรติศักดิ์ วงศ์แหวน สมาชิก อบต. หมู่ 3

- นายวีรยุทธ โพธิ์ขาว สมาชิก อบต. หมู่ 4

- นายวิชาญ โพธิ์ขาว สมาชิก อบต. หมู่ 4

- นายสงบ แสงขาว สมาชิก อบต. หมู่ 5

- นายพา ประสาน สมาชิก อบต. หมู่ 5

- นายสมหวัง คำศรี สมาชิก อบต. หมู่ 6

- นายบุญช่วย คำศรี สมาชิก อบต. หมู่ 6

- นายวิชัย คำศรี สภาชิก อบต. หมู่ 7

- นายจันทา คำศรี สมาชิก อบต. หมู่ 8

- นายพงษ์พล วงศ์ประเทศ สมาชิก อบต. หมู่ 8

- นายพอง โพธิ์ขาว สมาชิก อบต. หมู่ 9

- นายจำรัส กลมละคร สมาชิก อบต. หมู่ 9

- นายสุรัตน์ วรรณทวี สมาชิก อบต. หมู่ 10

- นายอำพร นัยนิตย์ สมาชิก อบต. หมู่ 10

- นายหมุน บุญนำ สมาชิก อบต. หมู่ 11

- นายวิชัย แอนโก สมาชิก อบต. หมู่ 11

ฝ่ายประจำประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่

1. สำนักงานปลัด ประกอบด้วย

- นายอุดร ธรรมวงศ์ ตำแหน่ง ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล

- นางสาวกชพรรณ สมหมาย ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

- นางปาลรพีร์ ทองจันทร์ ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน

- นายชารีฟ ไกรรักษ์ ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป

- นางสาวอนงค์นาถ ถึงดี ตำแหน่ง นักพัฒนาชุมชน

- นางสาวทองขัน ทองปัญญา ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ธุรการ

- นางวิไลลักษณ์ วงศ์งาม ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล

- นางสาวทัศฉวี วรรณทวี ตำแหน่ง ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ

- นายวิเชียร วรรณทวี ตำแหน่ง นักการภารโรง

2. ส่วนการคลัง ประกอบด้วย

- นางขนิษฐา เจริญสุข ตำแหน่ง หัวหน้าส่วนการคลัง

- นางสาวอาภากร นะรา ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้

- นางสาววิลาวัลย์ บุญค้ำชู ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่พัสดุ

- นางสาวอตินาฎร์ นาคสิงห์ทอง ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี

- นางสาววิยะดา บุญเฮ้า ตำแหน่ง ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี

3. ส่วนโยธา ประกอบด้วย

- นายเศกสรรค์ คำเนตร ตำแหน่ง หัวหน้าส่วนโยธา

- นายมงคล ดุมแก้ว ตำแหน่ง นายช่างโยธา

- นายวีรยุทธ ป้องอ้อย ตำแหน่ง ผู้ช่วยช่างโยธา

- นายณัทรชต ติละบาล ตำแหน่ง ผู้ช่วยช่างโยธา

- นายสุขสันต์ โพธิ์ขาว ตำแหน่ง พนักงานสูบน้ำ

4. ส่วนการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ประกอบด้วย

- นางสาวสำรวย รัตนวัน ตำแหน่ง นักวิชาการศึกษา

ตำแหน่ง (หน้าที่ความรับผิดชอบ)


ตำแหน่งงานที่ทำ

ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ

หน้าที่ความรับผิดชอบ

ปฏิบัติงานธุรการและงานสารบารบรรณ มีลักษณะงานที่ปฏิบัติเกี่ยวกับการรับ ส่ง ลงทะเบียน แยกประเภทและจัดส่งหนังสือ เอกสารให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเก็บ พิมพ์ คัดสำเนา ค้นหาและติดตามเรื่องราวหลักฐาน คัดลอกลงรายการต่าง ๆ ร่างหนังสือโต้ตอบ บันทึก ย่อเรื่อง สรุป ความเห็น และตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย

องค์ความรู้ ( 5 เรื่อง)

องค์ความรู้ที่ได้รับ
- เทคนิคการเขียนหนังสือราชการและหนังสือโต้ตอบ
- การเขียนบันทึกเสนอผู้บังคับบัญชาและการปฏิบัติงานเขียน
- เทคนิคการเขียนโครงการ
- การจัดเก็บและทำลายเอกสาร
- เทคนิคการพูดในโอกาสต่าง ๆ